ส่วนที่ 2 : ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีสมาชิกในครัวเรือนทั้งหมด 3 คน คิดเป็นร้อยละ 50 รองลงมามีสมาชิกในครัวเรือนทั้งหมด 2 คน คิดเป็นร้อย 33.71 และมีสมาชิกในครัวเรือนทั้งหมด 4 คน คิดเป็นร้อยละ 12.86 ตามลำดับ

1.1) สมาชิกในครัวเรือนเป็นเพศชาย


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีสมาชิกในครัวเรือนเป็นเพศชาย 2 คน คิดเป็นร้อยละ 59.43 รองลงมามีสมาชิกในครัวเรือนเป็นเพศชาย 1 คน คิดเป็นร้อย 40.57

1.2) สมาชิกในครัวเรือนเป็นเพศหญิง


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีสมาชิกในครัวเรือนเป็นเพศหญิง 1 คน คิดเป็นร้อยละ 70 รองลงมามีสมาชิกในครัวเรือนเป็นเพศหญิง 2 คน คิดเป็นร้อย 23.14 และมีสมาชิก ในครัวเรือนเป็นเพศหญิง 3 คนและ 4 คน คิดเป็นร้อยละ 3.43


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีสถานภาพการทำงานในปัจจุบัน เป็นเกษตรกร คิดเป็นร้อยละ 70.57 รองลงมามีสถานภาพการทำงานในปัจจุบันเป็นรับจ้างทั่วไป/กรรมกร คิดเป็นร้อย 19.43 และมีสถานภาพการทำงานในปัจจุบันเป็นว่างงาน คิดเป็นร้อยละ 6.86 ตามลำดับ


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ไม่มีอาชีพรองที่ทำในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา คิดเป็น 100 %


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของสมาชิกในครัวเรือนจำนวน 20,001 – 30,000 บาท/เดือน คิดเป็นร้อยละ 53.14 รองลงมามีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของสมาชิก ในครัวเรือน จำนวน 30,001 – 40,000 บาท/เดือน คิดเป็นร้อย 37.14 และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของสมาชิก ในครัวเรือน จำนวน มากกว่า 40,001 บาท/เดือน คิดเป็นร้อยละ 6.57 ตามลำดับ


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ไม่มีเงินออมในครัวเรือน คิดเป็น 100 %


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีการเก็บออมเงินในรูปแบบเงินฝากธนาคาร คิดเป็นร้อยละ 48.42 รองลงมามีการเก็บออมเงินในรูปแบบเงินสด คิดเป็นร้อยละ 46.70 และมีการเก็บออมเงินในรูปแบบเงินฝากกลุ่มออมทรัพย์ คิดเป็นร้อยละ 3.30 ตามลำดับ


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ไม่มีการชำระหนี้สินทุกประเภทในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา คิดเป็น 100 %

8.1) โครงการเงินกู้เพื่อการศึกษาของรัฐ


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ไม่ได้กู้ยืนเงินเพื่อการศึกษาของรัฐ คิดเป็นร้อยละ 96.57 รองลงมาได้กู้ยืมเงินเพื่อการศึกษาของรัฐ คิดเป็นร้อยละ 3.43

8.2) โครงการธนาคารประชาชนเพื่อผู้ประกอบอาชีพอิสระรายย่อย


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ไม่ได้ยืมเงินจากโครงการธนาคารประชาชนเพื่อผู้ประกอบอาชีพอิสระรายย่อย คิดเป็นร้อยละ 90.29 รองลงมาได้ยืมเงินจากโครงการธนาคารประชาชนเพื่อ ผู้ประกอบอาชีพอิสระรายย่อย คิดเป็นร้อยละ 9.71

8.3) กองทุนหมู่บ้าน/กองทุนชุมชนเมือง


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ไม่ได้กู้ยืมเงินกองทุนหมู่บ้าน/กองทุนชุมชนเมือง คิดเป็นร้อยละ 86.86 รองลงมาได้กู้ยืนเงินเพื่อการศึกษาของรัฐ คิดเป็นร้อยละ 13.14

8.4) กองทุนอื่น ๆ


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ไม่ได้กู้ยืมเงินกองทุนอื่น ๆ คิดเป็น 100 %

9.1) สิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาลจากหน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ไม่มีสิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาลจากหน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ คิดเป็นร้อยละ 93.14 รองลงมามีสิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาลจากหน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ คิดเป็นร้อยละ 6.86

9.2) สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตรทอง)


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตรทอง) คิดเป็นร้อยละ 96.57 รองลงมาไม่มีสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตรทอง) คิดเป็นร้อยละ 3.43

9.3) สิทธิประกัน สังคม ม.33, 39 (ลูกจ้าง/ผู้ประกันตน)


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ไม่มีสิทธิประกันสังคม ม.33,39 (ลูกจ้าง/ผู้ประกันตน) คิดเป็น 100 %

9.4) สิทธิประกัน สังคม ม.40 (ผู้ประกอบอาชีพอิสระหรือแรงงานนอกระบบ)


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ไม่มีสิทธิประกันสังคม ม.40 (ผู้ประกอบอาชีพอิสระหรือแรงงานนอกระบบ) คิดเป็น 100 %

9.5) ประกันสุขภาพของเอกชน


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ไม่มีประกันสุขภาพของเอกชน คิดเป็น 100 %

9.6) สวัสดิการค่ารักษาพยาบาลจัดโดยนายจ้าง


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ไม่มีสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลจัดโดยนายจ้าง คิดเป็น 100 %

9.7) อื่น ๆ เช่น บัตรประกันอุบัติเหตุนักเรียน ฯลฯ


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ไม่มีสวัสดิการอื่น ๆ เช่น บัตรประกันอุบัติเหตุนักเรียน คิดเป็นร้อยละ 90.29 รองลงมามีสวัสดิการอื่น ๆ เช่น บัตรประกันอุบัติเหตุนักเรียน คิดเป็น ร้อยละ 9.71

10.1) เงินสงเคราะห์เพื่อการยังชีพสำหรับผู้สูงอายุ


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ไม่ได้รับผลประโยชน์จากเงินสงเคราะห์ เพื่อการยังชีพสำหรับผู้สูงอายุ คิดเป็นร้อยละ 96.57 รองลงมาได้รับผลประโยชน์จากเงินสงเคราะห์เพื่อการยังชีพสำหรับผู้สูงอายุ คิดเป็นร้อยละ 3.43

10.2) เงินสงเคราะห์สำหรับผู้พิการ


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ไม่ได้รับผลประโยชน์จากเงินสงเคราะห์ สำหรับผู้พิการ คิดเป็น 100 %

10.3) อาหารกลางวัน/อาหารเสริมฟรี (นม) สำหรับนักเรียน


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ไม่ได้รับผลประโยชน์จากอาหารกลางวัน/อาหารเสริมฟรี (นม) สำหรับนักเรียน คิดเป็น 100 %

10.4) ทุนการศึกษาจากรัฐ


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ไม่ได้รับทุนการศึกษาจากรัฐ คิดเป็น 100 %

10.5) บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ (ผู้มีรายได้น้อย)


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ไม่ได้รับบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ (ผู้มีรายได้น้อย) คิดเป็น 100 %

10.6) เงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดจนถึงอายุ 6 ปี ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.)


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ไม่ได้รับเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดจนถึงอายุ 6 ปี ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) คิดเป็น 100 %

10.7) เงินสงเคราะห์บุตรแรกเกิดจนถึงอายุ 6 ปี (ประกันสังคม)


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ไม่ได้รับเงินสงเคราะห์บุตรแรกเกิดจนถึงอายุ 6 ปี (ประกันสังคม) คิดเป็น 100 %

10.8) โครงการช่วยเหลืออื่น ๆ จากรัฐ (เช่น เราเที่ยวด้วยกัน คนละครึ่ง ฯลฯ)


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ได้รับเงินโครงการช่วยเหลืออื่น ๆ จากรัฐ (เช่น เราเที่ยวด้วยกัน คนละครึ่ง ฯลฯ) คิดเป็นร้อยละ 93.14 รองลงมาไม่ได้รับเงินโครงการช่วยเหลืออื่น ๆ จากรัฐ (เช่น เราเที่ยวด้วยกัน คนละครึ่ง ฯลฯ) คิดเป็นร้อยละ 6.86